คู่มือการใช้งานระบบอักขราวิสุทธิ์
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษมได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการในการใช้
โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งระบบอักขราวิสุทธิ์ คือ ระบบให้บริการตรวจสอบ
ความคล้ายคลึงกัน ระหว่างเอกสารที่ยื่นตรวจสอบ กับเอกสารในฐานข้อมูลของระบบฯ โดยให้ผลลัพธ์เป็นรายงานผลการตรวจสอบที่แสดงค่าเปอร์เซนต์ความคล้ายคลึงกันและรายละเอียดอื่นๆ โปรแกรมตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรม (Plagiarism Detection Software) เป็นเครื่องมือช่วยในการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการเพื่อป้องกันการลอกเลียนวรรณกรรม และให้ผู้ใช้ตระหนักถึงการนาผลงานทางวิชาการของผู้อื่นมาใช้โดยคานึงถึงการอ้างอิง และลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางปัญญาของงานนั้นๆ
โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์กับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งระบบอักขราวิสุทธิ์ คือ ระบบให้บริการตรวจสอบ
ความคล้ายคลึงกัน ระหว่างเอกสารที่ยื่นตรวจสอบ กับเอกสารในฐานข้อมูลของระบบฯ โดยให้ผลลัพธ์เป็นรายงานผลการตรวจสอบที่แสดงค่าเปอร์เซนต์ความคล้ายคลึงกันและรายละเอียดอื่นๆ โปรแกรมตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรม (Plagiarism Detection Software) เป็นเครื่องมือช่วยในการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการเพื่อป้องกันการลอกเลียนวรรณกรรม และให้ผู้ใช้ตระหนักถึงการนาผลงานทางวิชาการของผู้อื่นมาใช้โดยคานึงถึงการอ้างอิง และลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทางปัญญาของงานนั้นๆ
คุณสมบัติของโปรแกรม
1. ตรวจสอบได้ทั้งข้อความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
2. ตรวจกับฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์จากบัณฑิตวิทยาลัย บทความวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการของ ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย บทความในเว็บไซต์วิกีพีเดียภาษาไทย วิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยที่รวมลงนาม
3. รองรับไฟล์เอกสาร Microsoft Word และ PDF
4. ใช้เวลาตรวจสอบเฉลยประมาณ 5 นาที (ระยะเวลาที่ต้องรอเมื่อใช้งานจริงขึ้นอยู่กับปริมาณผู้ใช้ที่กาลังตรวจสอบ)
5. ค่าเปอร์เซ็นต์ความคลายคลึงที่ได้จากระบบอักขราวิสุทธิ์มีไว้สาหรับการอ้างอิงเท่านั้น ผู้ใช้งาน อาจารย์ที่ปรึกษาควรตรวจสอบกับแหล่งข้อมูลเพื่อความถูกต้องอีกครั้ง โดยกระบวนการทางานของระบบ
อักขราวิสุทธิ์ สรุปง่ายๆ ดังภาพที่ 1 (ไพโรจน์ ลีลาภัทรกิจ : ออนไลน์)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น